วัตถุประสงค์

             1. อธิบายความหมายของโนดโวลท์เตจได้

             2.เขียนสมการโดยใช้วิธีโนดโวลท์เตจได้

             3.คำนวณหาค่าต่างๆในวงจรโดยใช้วิธีโนดโวลท์เตจได้        

 

             นด (node) คือจุดต่อในวงจรที่มีจำนวนสาขาตั้งแต่ 2 สาขาขึ้นไป ถ้ามีสาขาตั้งแต่ 3 สาขาขึ้นไปมาต่อรวมกันก็จะ

                 เรียกว่า  ปริ้นท์ซิเปิ้ลโนด (principle node )

             โนดโวลท์เตจ (node voltage) หมายถึงความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด หรือความต่างศักย์ระหว่างโนด 2 โนด

             ในวงจร กล่าวคือ เป็นความแต่ต่างของระดับแรงดันที่โนดใด ๆ ก็ได้ในวงจร เมื่อนำไปเปรียบเทียบกับ โนดอ้างอิง     

        
       (reference node)

                          ซึ่งจะกำหนดให้ Princible node ใดโนดหนึ่งเป็นโนดอ้างอิงก็ได้แต่โดยทั่วไปแล้ว จะเลือกโนดอ้างอิงที่ต่อ

             ร่วมอยู่กับกราวนด์เสมอ เพราะว่าง่ายต่อการพิจารณาและการคำนวณ ดังในรูปที่ 3-1 จะเห็นได้ว่า เลือกโนด 2 เป็นโนด

             อ้างอิง

     ดังนั้น จะได้ เป็นแรงดันระหว่างโนด 1 กับ 2

 

รูปที่ 3-1 

               จากวงจรในรูปที่ 3-1 เมื่อกำหนดโนดโวลท์เตจ เราก็สามารถที่จะคำนวณหาค่าโนดโวลท์เตจ

               ได้โดยการนำกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ มาใช้ในการพิจารณา

               สมมติให้กระแสไหลเข้าหา โนด1 ทุกๆ สาขาที่โนด 1 คือกระแส และ ไหลออกจากโนด 1จากกฏ

               กระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้ผลรวมของกระแส โนด 1 มีค่าเท่ากับศูนย์

               จากกฏกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

 

               แต่ , และ

 

               แทนค่า และ ในสมการที่ 1 จะได้

               + + = 0 ......................2

 

   
จำนวนสมการของโนดโวลท์เตจ

 

                      จากวงจรในรูปที่ 3-1 จะเห็นได้ว่ามี Princible node ทั้งหมดอยู่ 2 โนด คือโนด 1, 2

               กำหนดให้โนด 2 เป็นโนดอ้างอิง

               นั่นคือ จำนวนสมการของโนดโวลท์เตจจะมีค่าน้อยกว่าจำนวนของ Princible node อยู่ หนึ่งเสมอ

               เมื่อกำหนดให้ n = จำนวนของ Princible node

               ดังนั้น จำนวนสมการของโนดโวลท์เตจ = n – 1

 

ลำดับขั้นการสร้างสมการของโนดโวลท์เตจ



               1. กำหนดโนดลงในวงจร ซึ่งจะมีทั้ง Princible node และโนดอ้างอิงเมือกำหนดโนดแล้วก็จะได้โนดโวลท์เตจ

                  ( แรงดันระหว่าง Princible node กับโนดอ้างอิง ) และโนดโวลท์เตจอ้างอิง ( แรงดันที่โนดอ้างอิง )

               2. การพิจารณาดโนดโวลท์เตจจะให้ระดับของแรงดันที่ Princible node ทมีค่าสูงกว่าระดับของแรงดันที่โนดอ้างอิง

               3. สมมติและกำหนดทิศทางของกระแสที่ Princible node การกำหนดทิศทางของกระแสที่ Princible node

                   จะกำหนดให้ไหลออกจาก Princible node ก็ได้เพราะว่า ผลลัพธ์ที่ได้ จะมีค่าเหมือนกันทุกประการ

 

  ตัวอย่างที่ 3.1 วงจรดังรูปที่ 3-2a จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว


รูปที่ 3-2a

               วิธีทำ กำหนดโนด 1 และ 2 โดยให้โนด 2 เป็นโนดอ้างอิง และสมมติให้ และ ไหลผ่านความต้านทาน               
               ตามลำดับ และ ทิศทางของกระแส ดังรูปที่ 3-2b


รูปที่ 3-2b

               Node1 จากกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

               จากสมการที่1 ใช้กฎของโอห์มหาค่าของ และ จะได้

               และ

              

               จัดเรียงใหม่ จะได้

              

               นั่นคือ

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

  ตัวอย่างที่ 3.2   วงจรแสดงดังรูป 3 -3a จงหาค่าของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว

 

รูปที่ 3-3a

 

รูปที่ 3-3b 

         วิธีทำ กำหนดโนด 1 และ 2 โดยให้โนด 2 เป็นโนดอ้างอิง และสมมุติให้กระแสไฟฟ้าไหลในสาขาต่างๆมีทิศทางดังรูปที่ 3-3b

               Node 1 จากกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

 

               จากสมการที่1 ใช้กฎของโอห์มหาค่าของ และ จะได้

               และ

 

              

               จัดเรียงใหม่ จะได้

              

               นั่นคือ

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

               กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน คือ

              

 ตัวอย่างที่ 3.3 วงจรแสดงดังรูปที่ 3-4a จงหาค่าของกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และ กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทาน


รูปที่ 3-4a

  

รูปที่ 3-4b

 

               วิธีทำ กำหนดโนด 1 , 2 และ 3 โดยให้โนด 3 เป็นโนดอ้างอิง แล้วสมมติให้กระแสไฟฟ้าไหลในสาขาต่าง ๆ                                             
                       
มีทิศทางดังรูปที่ 3-4 b

               Node 1 จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

 

               จากสมการที่1 ใช้กฎของโอห์มหาค่าของ และ จะได้

              

               จัดเรียงใหม่ จะได้

               Node 2 จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

               จากสมการที่(3) ใช้กฎของโอห์มหาค่าของ และ จะได้

              

 

 

               จัดเรียงใหม่ จะได้

        

               นำสมการที่ (2) และ (4) มาเขียนอยู่ในรูปของเมตริกซ์ จะได้

 

              

 

              

 

              

 

               นั่นคือ

               กระแสที่ไหลผ่านความต้านทาน

              

               แรงดันไฟฟ้าที่ความต้านทาน

              

               กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทาน

              


 

 
   
2006-2007 Create by นายผดุงวิทย์  ดิษฐเจริญ