วัตถุประสงค์

             1.อธิบายความหมายของเมชเคอร์เรนท์ได้

             2.เขียนสมการโดยใช้วิธีเมชเคออร์เรนท์ได้

             3.คำนวณหาค่าต่างๆในวงจรโดยใช้วิธีเมชเคออร์เรนท์ได้

             
             
การแก้ปัญหาโจทย์ที่เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าที่ค่อนข้างยุ่งยาก สลับซับซ้อน ถ้าใช้ กฎของเคอร์ชอฟฟ์แล้วยังไม่สามารถแก้

             ปัญหาได้ ก็ใช้หลัการทฤษฏีกระแส เมช โดยการเขียนสมการกฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ กับทุก Loop ที่มีการกำหนด

              กระแส สมมุติใน Loop นั้น ซึ่งจะต้องยึดหลักการ ดังนี้

             1. กำหนดทิศทางกระแสให้ครบทุก Loop โดยทิศทางของกระที่กำหนดนั้น จะให้กระแสไหลไปทางไหนก็ได้

             2. เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ให้ครบทุก Loop โดยให้ยึดถือ Loop ที่กำลังเขียนอยู่เป็นหลัก                               
                 ซึ่งจะมีเครื่องหมายเป็นบวกเสมอ

             3. แรงดันตกคร่อมความต้านทานที่เกิดจากกระแสใน Loop อื่นสมมุติขึ้นมาไหลผ่าน ถ้าทิศทางของกระแสไหล

                 สวนทาง กับ Loop หลักให้เครื่องหมายเป็นลบ และ กระแสไหลทางเดียวกับ Loop หลักให้เครื่องหมายเป็นบวก

             4. ทิศทางของกระแสที่กำหนดไหลเข้าหาแหล่งจ่ายขั้วบวกให้มีเครื่องหมายเป็นบวก และทิศทางของกระแสที่กำหนด

                  ไหลเข้าหาแหล่งจ่ายขั้วลบให้มีเครื่องหมายเป็นลบ

   
ลำดับขั้นในการแก้ปัญหาโดยวิธีของกระแสเมช



รูปที่ 2-1 

             เขียนสมการในแต่ละ Loop โดยใช้กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ในการพิจารณา จะได้

             Loop1 ใช้เมชเคอร์เรนท์ เป็นหลักในการเขียนสมการ จะได้

             

             จัดเรียงใหม่จะได้

             Loop 2 ใช้เมชเคอร์เรนท์ เป็นหลักในการเขียนสมการ จะได้

             

             จัดเรียงใหม่จะได้

             นำสมการที่ (1) และ (2) มาแก้สมการ หาค่าของ และ

 

 ตัวอย่างที่ 2.1 วงจรดังรูปที่ 2-2a จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว


รูปที่ 2-2a

รูปที่ 2-2b

             วิธีทำ จากรูปที่ 2-2 b เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

             นำสมการที่ (1) และ ( 2) มาเขียนเมตริกซ์ จะได้

             

             

 

             

 

             นั่นคือ

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 20 โอห์ม

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 15 โอห์ม

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 10 โอห์ม

 

   ตัวอย่างที่ 1.2  วงจรดังรูปที่ 1-3a จงหากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว


รูปที่ 1 -3a

รูปที่ 1-3b

             วิธีทำ จากรูปที่ 1-3 b เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

             นำสมการที่ (1) และ (2) มาเขียนเมตริกซ์ จะได้

             

 

             

 

             

นั่นคือ

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 20 โอห์ม

             

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 15 โอห์ม

             

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 10 โอห์ม

             

 

 ตัวอย่างที่1.3  วงจรแสดงดังแสดงรูปที่1-4a จงหาค่าของกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม และกำลังไฟฟ้าที่
                                  ความต้านทาน 8 โอห์ม


รูปที่ 1-4a

รูปที่ 1-4b

             วิธีทำ จากรูปที่ 1-4 b เขียนสมการโดยใช้กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

 

 

             นำสมการที่ (1), (2) และ (3) มาเขียนในรูปของเมตริกซ์ จะได้

             

 

             

 

             

 

             

 

นั่นคือ

             กระแสที่ไหลผ่านความต้านทาน 8 โอห์ม

             

             แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทาน 8 โอห์ม

             

             กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทาน 8 โอห์ม

             


 

 
   
2006-2007 Create by นายผดุงวิทย์  ดิษฐเจริญ