วัตถุประสงค์

            1. อธิบายความหมายกฏกระแสและกฏแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ได้

            2. เขียนสมการกระแสและแรงดันโดยใช้กฏของเคอร์ชอฟฟ์ได้

            3. คำนวณหาค่าต่างๆในวงจรโดยใช้กฏของเคอร์ชอฟฟ์ได้


ในการแก้ปัญหาโจทย์เกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าแบบง่ายๆนั้น จะเห็นได้ว่า เราสามารถที่จะนำกฎของโอห์มมาใช้แก้ปัญหา

โจทย์ได้โดยตรงเกือบทุกวงจร แต่ในปัญหาโจทย์ที่สลับซับซ้อนมากๆ แล้วก็ไม่สามารถที่จะนำกฎของโอห์มมาใช้ได้โดยตรง

 

ดังนั้น จึงมีนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อว่า สกุสตาฟ อาร์ เคอร์ชอฟฟ์

ได้ทำการทดลอง และสรุปเป็นกฎมา 2 ข้อ คือ

  กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

  กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

 
   
กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์


             กฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ กล่าวว่า ณ จุดใดๆ ในวงจรไฟฟ้าผลรวมทางพีชคณิตของกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าและ

ไหลออกมีค่าเท่ากับศูนย์ หรือ ณ จุด ใดๆ ในวงจรไฟฟ้า ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้าจะมีค่าเท่ากับผลรวมของกระแสที่ไหลออก

ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ ดังนี้

ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้า = ผลรวมของกระแสที่ไหลออก

รูปที่1 กฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์

จากรูปที่1 จะพิจารณาเห็นได้ว่า กระแสที่ไหลเข้าหาจุด A คือ ส่วนกระแสไฟฟ้าที่ไหลออกจากจุด A คือ และ

 

ดังนั้น จากฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์ เมื่อพิจารณาที่จุด A จะได้ว่า ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้า = ผลรวมของกระแสที่ไหลออก

   ตัวอย่างที่ 1 การไหลของกระแสไฟฟ้าแสดงดังรูปที่2 ถ้า I1 = 3A , I2 = 2 A จงหาค่าของ I3

 

รูปที่2 แสดงรูปกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ ตัวอย่างที่1

 

วิธีทำ จากกฎกระแสไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

ผลรวมของกระแสที่ไหลเข้า = ผลรวมของกระแสที่ไหลออก

แทนค่าในสมการที่1 จะได้

         

ดังนั้น กระแสไฟฟ้า


กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

             
                 กฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ กล่าวว่า ในวงจรไฟฟ้าปิด ใดๆ ผลรวมทางพีชคณิตของแรงดันมีค่าเท่ากับศูนย์ หรือ

จะกล่าวในอีกทางหนึ่งก็คือ ในวงจรไฟฟ้าปิดใดๆ ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่วงจร (e.m.f.) มีค่าเท่ากับผลรวมของดัน

ไฟฟ้าที่ตกคร่อม ความต้านทานทั้งวงจร

รูปที่ 3 กฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์

จากรูปที่ 3         จะพิจารณาเห็นได้ว่า แรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้วงจรคือ    ส่วนแรงดันที่ตกคร่อมความต้านทานของวงจร คือ                              แรงดัน   และ   ซึ่งเป็นแรงดันตกคร่อมความต้านทาน       และ    ตามลำดับ

ดังนั้น จากฎแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ จะเขียนสมการได้ว่า

ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่วงจร = ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมความต้านทานทั้งวงจร

 

   ตัวอย่างที่ 2   วงจรแสดง ดังรูปที่1-4 ถ้า E1 = 100 V และ V1= 40 V จงหาค่าของ V2

รูปที่ 4 แสดงรูปกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ ตัวอย่างที่ 2

 

วิธีทำ จากกฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์ จะได้

ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้แก่วงจร = ผลรวมของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมความต้านทานทั้งวงจร

 

            แทนค่า ในสมการที่2 จะได้

            

            ดังนั้น แรงดันไฟฟ้า    

   ตัวอย่างที่ 3   วงจรดังรูปที่ 5a จงหาค่าของกระแสไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

รูปที่ 5a

วิธีทำ สมมติให้     และ  ไหลผ่านความต้านทาน 10 โอห์ม , 8 โอห์ม และ 4 โอห์ม ตามลำดับ และมีทิศทางกระแส

ดังรูปที่ 5 b

รูปที่ 5b

             จากฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์

             จากฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

             ในวง ABED จะได้

             ในวง BCFE จะได

                          

             \ ในวง BCFE จะได้

             นำสมการที่ (2) และ (3) มาเขียนในรูปของเมตริกซ์ จะได้

                          

 

                          

 

                          

 

                          

             นั่นคือ

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 10 โอห์ม             

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 8 โอห์ม             

             กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 4 โอห์ม             

   ตัวอย่างที่ 4   วงจรดังรูปที่ 6a จงหากระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

รูปที่ 6 a

วิธีทำ สมมติให้ และ ไหลผ่านความต้านทาน 2 0โอห์ม , 15 โอห์ม และ 10โอห์ม ตามลำดับ และมีทิศทางกระแส


ดังรูปที่ 6a

รูปที่ 6 b

            จากกฎกระแสของเคอร์ชอฟฟ์

            จากฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

            ในวง ABED จะได้

            ในวง CBEF จะได้

            นำสมการที่ (2) และ (3) มาเขียนในรูปของเมตริกซ์ จะได้

            

            

            

            

            นั่นคือ

            กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 20 โอห์ม            

            กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 15 โอห์ม            

            กระแสไฟฟ้า ที่ความต้านทาน 10 โอห์ม            

   ตัวอย่างที่ 5   วงจรในรูปที่7a จงหากระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าตกคร่อม และกำลังไฟฟ้าที่ความต้านทาน 4 โอห์ม

รูปที่ 7a

วิธีทำ สมมติให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านความต้านทาน ดังรูปที่ 7 b

รูปที่ 7b

            จากฎแรงดันไฟฟ้าของเคอร์ชอฟฟ์

            ในวง ABFE จะได้

            ในวง BCGF จะได้

            ในวง CGHD จะได

            นำสมการที่ (1),(2) และ (3) มาเขียนในรูปของเมตริกซ์ จะได้

            

 

            

 

            

 

            

 

            นั่นคือ

            กระแสที่ไหลผ่านความต้านทาน 8โอห์ม             

            แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทาน 8โอห์ม       

            กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทาน 8โอห์ม                     

 
 
   
@2016 Create by นายผดุงวิทย์ ดิษฐเจริญ